News & Blog
Tech trends needs to know about
การจัดการข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมด้วย Multidimensional Raster
ปัจจุบันนี้ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมมีหลากหลายและมีความถี่ของภาพมากขึ้น ทำให้การจัดเก็บข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมเกิดความยุ่งยากและสับสนกับผู้ใช้งานได้ อีกหนึ่งฟังก์ชันจากโปรแกรม ArcGIS Pro ที่จะช่วยตอบโจทย์ในการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการจัดเก็บข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมของผู้ใช้งานให้สะดวกและเป็นระเบียบมากขึ้น นั่นคือ Multidimensional Raster ซึ่งสามารถนำภาพถ่ายดาวเทียมที่อยู่ในหลากหลายพื้นที่มาต่อเข้าไว้ด้วยกันได้
การนำข้อมูลภาพจาก Drone DJI มาประมวลผลกับ Reality Mapping for ArcGIS Pro
ปัจจุบันมีการนำโดรนมาใช้อย่างแพร่หลายมากขึ้น โดยเฉพาะโดรนที่มีการติดตั้งกล้องความละเอียดสูงและอุปกรณ์สำรวจข้อมูลความสูงภูมิประเทศเชิงเลขความละเอียดสูงอย่างไลดาร์ (LiDAR) เช่น DJI Matrice 300 และ กล้อง Phoenix
กล้องระดับดิจิทัล Leica LS15 เครื่องมือที่ช่วยให้การทำระดับมีความแม่นยำและง่ายขึ้น
โครงการทางวิศวกรรมมักมีความจำเป็นต้องใช้ข้อมูลเกี่ยวกับระดับความสูงของผิวดินบริเวณที่ตั้งโครงการ เพื่อการทำงานในลักษณะต่างๆ เช่น การกำหนดระดับฐานรากในการก่อสร้างอาคาร การกำหนดความลาดหรือระดับของระบบระบายน้ำ การกำหนดระดับผิวถนน และงานก่อสร้างอื่นๆ ล้วนมีการกำหนดค่าระดับความสูงของสิ่งก่อสร้างทั้งนั้น นอกจากนี้ยังสามารถนำข้อมูลระดับความสูงของพื้นที่ไปคำนวณหาปริมาณงานดินขุดหรือถม ปริมาณการเก็บกักน้ำของเขื่อน
3 ขั้นตอนเพิ่มประสิทธิภาพการตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูลสายส่งด้วยเทคโนโลยี GIS
อีกหนึ่งประโยชน์ของการใช้ข้อมูลภาพถ่ายหลายมุมมองจาก Drone และ LiDAR คือนำมาวิเคราะห์และเก็บข้อมูลสายส่งหรือตำแหน่งสายไฟฟ้า (Powerline) รวมถึงใช้ตรวจสอบและวิเคราะห์ความเสียหายหรือสิ่งที่ล่วงล้ำที่เกิดกับเสาไฟฟ้า ขั้นตอนนี้ หากเป็นสมัยก่อนที่ยังไม่มีเครื่องมือทันสมัยจะใช้คนตรวจสอบ หรืออาจเพียงบิน
ข้อมูลความสูง Point Cloud แบบนี้ได้มายังไง !!!
หนึ่งในอุปกรณ์ที่สามารถให้ข้อมูลความสูง ก็คือ Phoenix LiDAR System SCOUT-M2X เครื่องมือผลิตข้อมูลจุดความสูงที่มีความถูกต้องสูง มาพร้อมโปรแกรมประมวลผลที่ใช้งานง่ายๆ เพื่อให้ทุกคนสามารถนำไปประยุกต์ใช้งานได้หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นการตรวจสอบทรัพย์สิน
NTRIP คืออะไร? มีส่วนสำคัญในการหาค่าพิกัดจากการรังวัดอย่างไร?
NTRIP คืออะไร NTRIP (Networked Transport of RTCM via Internet Protocol)
จำลองเมืองกรุงเทพฯ 3 มิติด้วย Digital Twin
บริษัท จีไอเอส จำกัด ร่วมกับ กรุงเทพมหานคร พัฒนาแบบจำลองเสมือนกรุงเทพฯ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการเมือง โดยให้การสนับสนุนด้านเทคนิคในการใช้เทคโนโลยี GIS รวบรวมข้อมูลด้านต่าง
ทำความรู้จัก Infra-Motion (IoT) by Senceive ระบบตรวจจับการเคลื่อนตัวของสิ่งก่อสร้างแบบไร้สาย
ทุกวันนี้อุบัติเหตุและอันตรายจากสิ่งก่อสร้างหรือสาธาณูปโภคอันเนื่องมาจากความเสียหายภายในโครงสร้าง ส่งผลกระทบต่อผู้คนและเจ้าของทรัพย์สิน แต่การวางระบบตรวจสอบโครงสร้างนั้นทำได้ยาก เนื่องจากต้องการการวางแผนล่วงหน้าและจำเป็นต้องติดตั้งไปพร้อมกับการก่อสร้าง จะเป็นอย่างไร หากมีอุปกรณ์ที่สามารถตรวจจับการเคลื่อนตัว การเอียง หรือการสั่นของสิ่งก่อสร้าง เพื่อช่วยในการติดตามเฝ้าระวังปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผลให้เกิดอันตราย
เพิ่มประสิทธิภาพและความปลอดภัยของสนามบินด้วยเทคโนโลยี GIS และ LiDAR
การจัดการข้อมูลการบิน (AIM) ถือเป็นสิ่งสำคัญสำหรับการดำเนินงานที่ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพในระบบน่านฟ้าของประเทศ องค์กรการบินใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) เพื่อจัดการและบำรุงรักษาข้อมูลการบินอย่างแม่นยำ รวมถึงการบูรณาการข้อมูลนั้นกับระบบภารกิจการบินอื่นๆ เพื่อพัฒนาวิธีการใหม่ๆ ในการส่งมอบข้อมูลการทำแผนที่การบินโดยใช้ GIS
การจัดการข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมด้วย Multidimensional Raster
ปัจจุบันนี้ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมมีหลากหลายและมีความถี่ของภาพมากขึ้น ทำให้การจัดเก็บข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมเกิดความยุ่งยากและสับสนกับผู้ใช้งานได้ อีกหนึ่งฟังก์ชันจากโปรแกรม ArcGIS Pro ที่จะช่วยตอบโจทย์ในการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการจัดเก็บข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมของผู้ใช้งานให้สะดวกและเป็นระเบียบมากขึ้น นั่นคือ Multidimensional Raster ซึ่งสามารถนำภาพถ่ายดาวเทียมที่อยู่ในหลากหลายพื้นที่มาต่อเข้าไว้ด้วยกันได้
การนำข้อมูลภาพจาก Drone DJI มาประมวลผลกับ Reality Mapping for ArcGIS Pro
ปัจจุบันมีการนำโดรนมาใช้อย่างแพร่หลายมากขึ้น โดยเฉพาะโดรนที่มีการติดตั้งกล้องความละเอียดสูงและอุปกรณ์สำรวจข้อมูลความสูงภูมิประเทศเชิงเลขความละเอียดสูงอย่างไลดาร์ (LiDAR) เช่น DJI Matrice 300 และ กล้อง Phoenix
กล้องระดับดิจิทัล Leica LS15 เครื่องมือที่ช่วยให้การทำระดับมีความแม่นยำและง่ายขึ้น
โครงการทางวิศวกรรมมักมีความจำเป็นต้องใช้ข้อมูลเกี่ยวกับระดับความสูงของผิวดินบริเวณที่ตั้งโครงการ เพื่อการทำงานในลักษณะต่างๆ เช่น การกำหนดระดับฐานรากในการก่อสร้างอาคาร การกำหนดความลาดหรือระดับของระบบระบายน้ำ การกำหนดระดับผิวถนน และงานก่อสร้างอื่นๆ ล้วนมีการกำหนดค่าระดับความสูงของสิ่งก่อสร้างทั้งนั้น นอกจากนี้ยังสามารถนำข้อมูลระดับความสูงของพื้นที่ไปคำนวณหาปริมาณงานดินขุดหรือถม ปริมาณการเก็บกักน้ำของเขื่อน
3 ขั้นตอนเพิ่มประสิทธิภาพการตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูลสายส่งด้วยเทคโนโลยี GIS
อีกหนึ่งประโยชน์ของการใช้ข้อมูลภาพถ่ายหลายมุมมองจาก Drone และ LiDAR คือนำมาวิเคราะห์และเก็บข้อมูลสายส่งหรือตำแหน่งสายไฟฟ้า (Powerline) รวมถึงใช้ตรวจสอบและวิเคราะห์ความเสียหายหรือสิ่งที่ล่วงล้ำที่เกิดกับเสาไฟฟ้า ขั้นตอนนี้ หากเป็นสมัยก่อนที่ยังไม่มีเครื่องมือทันสมัยจะใช้คนตรวจสอบ หรืออาจเพียงบิน
ข้อมูลความสูง Point Cloud แบบนี้ได้มายังไง !!!
หนึ่งในอุปกรณ์ที่สามารถให้ข้อมูลความสูง ก็คือ Phoenix LiDAR System SCOUT-M2X เครื่องมือผลิตข้อมูลจุดความสูงที่มีความถูกต้องสูง มาพร้อมโปรแกรมประมวลผลที่ใช้งานง่ายๆ เพื่อให้ทุกคนสามารถนำไปประยุกต์ใช้งานได้หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นการตรวจสอบทรัพย์สิน
NTRIP คืออะไร? มีส่วนสำคัญในการหาค่าพิกัดจากการรังวัดอย่างไร?
NTRIP คืออะไร NTRIP (Networked Transport of RTCM via Internet Protocol)
จำลองเมืองกรุงเทพฯ 3 มิติด้วย Digital Twin
บริษัท จีไอเอส จำกัด ร่วมกับ กรุงเทพมหานคร พัฒนาแบบจำลองเสมือนกรุงเทพฯ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการเมือง โดยให้การสนับสนุนด้านเทคนิคในการใช้เทคโนโลยี GIS รวบรวมข้อมูลด้านต่าง
ทำความรู้จัก Infra-Motion (IoT) by Senceive ระบบตรวจจับการเคลื่อนตัวของสิ่งก่อสร้างแบบไร้สาย
ทุกวันนี้อุบัติเหตุและอันตรายจากสิ่งก่อสร้างหรือสาธาณูปโภคอันเนื่องมาจากความเสียหายภายในโครงสร้าง ส่งผลกระทบต่อผู้คนและเจ้าของทรัพย์สิน แต่การวางระบบตรวจสอบโครงสร้างนั้นทำได้ยาก เนื่องจากต้องการการวางแผนล่วงหน้าและจำเป็นต้องติดตั้งไปพร้อมกับการก่อสร้าง จะเป็นอย่างไร หากมีอุปกรณ์ที่สามารถตรวจจับการเคลื่อนตัว การเอียง หรือการสั่นของสิ่งก่อสร้าง เพื่อช่วยในการติดตามเฝ้าระวังปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผลให้เกิดอันตราย
เพิ่มประสิทธิภาพและความปลอดภัยของสนามบินด้วยเทคโนโลยี GIS และ LiDAR
การจัดการข้อมูลการบิน (AIM) ถือเป็นสิ่งสำคัญสำหรับการดำเนินงานที่ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพในระบบน่านฟ้าของประเทศ องค์กรการบินใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) เพื่อจัดการและบำรุงรักษาข้อมูลการบินอย่างแม่นยำ รวมถึงการบูรณาการข้อมูลนั้นกับระบบภารกิจการบินอื่นๆ เพื่อพัฒนาวิธีการใหม่ๆ ในการส่งมอบข้อมูลการทำแผนที่การบินโดยใช้ GIS